รวมคู่มือการควบคุมงานก่อสร้างทางหลวง เล่มที่ 1-4 โดยกรมทางหลวงคู่มือการควบคุมงานก่อสร้างทางหลวง
เล่ม 1 การบริหารโครงการ (กันยายน 2550) คู่มือการควบคุมงานก่อสร้างทางหลวง เล่ม 2 การควบคุมงานก่อสร้างทาง (กันยายน 2550) คู่มือการควบคุมงานก่อสร้างทางหลวง เล่ม 3 การควบคุมงานก่อสร้างสะพานและอาคารระบายน้ำ (กันยายน 2550) คู่มือการควบคุมงานก่อสร้างทางหลวง เล่ม 4 การควบคุมคุณภาพวัสดุ (กันยายน 2550) การออกแบบความหนาโครงสร้างชั้นทางของถนนคอนกรีต (Portland Cement Concrete Pavement Design) โดย ส่วนออกแบบและแนะนําโครงสร้างชั้นทาง สำนักวิเคราะห์และตรวจสอบ กรมทางหลวงมาตรฐานการทดสอบวัสดุงานทาง โดยกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคมคู่มือการปฏิบัติงาน Asphalt Hot-Mix Recycling โดยส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์ กรมทางหลวง11/12/2017 คู่มือการปฏิบัติงาน Asphalt Hot-Mix Recycling โดยส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์ สำนักวิเคราะห์และตรวจสอบ กรมทางหลวงDESIGN GUIDELINE ประเภทของเกาะกลางถนน (Road Medians) และการออกแบบรูปตัดงานขยายทางหลวง (Road Widening) โดย สำนักสำรวจและออกแบบ กรมทางหลวงการสำรวจด้วยวิธีการระดับ LEVELING SURVEYING โดย คุณภิญโญ วรเกษตรรวมแบบมาตรฐานงานทาง กรุงเทพมหานคร โดย สำนักงานออกแบบ สำนักการโยธา1.แบบเลขที่ มท.-01 ผิวทางคอนกรีตหนา 15 ซม 2.แบบเลขที่ มท.-02 ผิวทางคอนกรีตหนา 20 ซม. 3.แบบเลขที่ มท.-03 ผิวทางคอนกรีตหนา 25 ซม. 4.แบบเลขที่ มท.-04 ผิวทางชนิดแอสฟัลต์คอนกรีต 5.แบบเลขที่ มท.-05 แบบคันหินและคันหินรางตื้น 6.แบบเลขที่ มท.-06 ช่องรับน้ำหน้าคันหินแบบ A 7.แบบเลขที่ มท.-07 ช่องรับน้ำหน้าคันหินแบบ B 8.แบบเลขที่ มท.-08 แบบทาง เข้า-ออก 9.แบบเลขที่ มท.-09 แบบลาดทางเท้า 10.แบบเลขที่ มท.-10 การจัดสาธารณูปโภคบนทางเท้า 11.แบบเลขที่ มท.-11 แบบคอกต้นไม้ 12.แบบเลขที่ มท.-12 กระเบื่องซีเมนต์ปูพื้น 30x30x6 และ 30x30x3.5 ซม 13.แบบเลขที่ มท.-13 กระเบื้องปูพื้น 40x40x3.5 ซม. 14.แบบเลขที่ มน.-01 รางวีและบ่อพักรางวี 15.แบบเลขที่ มน.-02 ท่อระบายน้ำชนิดกลมในทางเท้า dai 0.40,0.50และ 0.60 ม. 16.แบบเลขที่ มน.-03 ท่อระบายน้ำชนิดกลมในผิวจราจร dai 0.40,0.50และ 0.60 ม. 17.แบบเลขที่ มน.-04 ท่อระบายน้ำชนิดกลมในทางเท้า dai 0.80,1.00,1.20 และ 1.50 ม. 18.แบบเลขที่ มน.-05 ท่อระบายน้ำชนิดกลมในผิวจราจร dai 0.80,1.00,1.20 และ 1.50 ม. 19.แบบเลขที่ มก.-01 รายละเอียดกำแพงกันดิน คู่มือติดตั้งป้ายจราจร โดยกรมทางหลวงชนบท เมษายน 2556คู่มือแสดงรายละเอียดการติดตั้งป้าย ของกรมทางหลวงชนบท ปรับปรุงแทนฉบับเดิมปี 2547 จัดแบ่งเนื้อหาออกเป็น 10 บท บทที่ 1 บททั่วไป บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก บทที่ 3 ป้ายจราจรมาตรฐานสูง บทที่ 4 การกำหนดชื่อจุดหมายปลายทาง บทที่ 5 การติดตั้ง ป้ายจราจรบริเวณทางแยก บทที่ 6 การติดตัง้ ป้ายจราจร VMS- Variable Message Sign บทที่ 7 ป้ายท่องเที่ยว บทที่ 8 ป้ายเตือนระหว่างก่อสร้าง บทที่ 9 ป้ายกิโลเมตร บทที่ 10 ป้ายทางจักรยาน รวมแบบมาตรฐานกรมทางหลวง ทั้งแบบเก่าและแบบใหม่ (ฉบับปี 1994 และ 2015) ไฟล์ CAD และ PDFรวมแบบมาตรฐานกรมทางหลวง ประกอบด้วย
-STANDARD DRAWING FOR HIGHWAY DESIGN AND CONSTRUCTION (REVISION 2015)แบบมาตรฐานกรมทางหลวง ฉบับปรับปรุงใหม่ ไฟล์ pdf - STANDARD DRAWING (1994) แบบมาตรฐาน กรมทางหลวง (1994) มีทั้งไฟล์ pdf และ ไฟล์ CAD คู่มือควบคุมงานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม คสล. ฉบับปรับปรุงและแก้ไข ครั้งที่ 4 จัดทำโดยสำนักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคมเป็นหนังสือคู่มือการควบคุมงานก่อก่อสร้างสะพาน ข้อกำหนดและมาตรฐานการควบคุมงานก่อสร้างสะพาน เทคนิควิธีการก่อสร้างสะพานเริ่มตั้งแต่งานฐานรากจนถึงการก่อสร้างพื้นสะพาน ตลอดจนการป้องกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากงานก่อสร้าง การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ฝนชุก ในการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างทางและงานก่อสร้างชลประทาน ตามหนังสือ ว195 ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 (หนังสือแจ้งเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับการคำนวณราคากลางจาก 7% เป็น 6%)จากมติ ครม. 13 มีนาคม 2555 ได้กำหนดพื้นที่ฝนชุก เพื่อคำนวณราคากลางงานก่อสร้างทาง และ ราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน โดย แบ่งพื้นที่เป็น ฝนชุก 1 และฝนชุก 2 รวม จำนวน 19 จังหวัดประกอบด้วย
ต่อมา กรมบัญชีกลางได้มีหนังสือแจ้งเวียน ที่ กค.0421.5/ว195 ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เรื่อง การประกาศอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จาก 7% เป็น 6% และรายละเอียดในหนังสือ ฉบับเดียวกันยังได้ แจ้งเปลี่ยนแปลงจังหวัดพื้นที่ฝนชุก โดยมีรายละเอียด ดังนี้ พื้นที่ฝนชุก (กำหนดใหม่) ตาม ว195 ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 (22 จังหวัด)
จากข้อกำหนดใหม่ มีพื้นที่ 2 จังหวัด ที่ข้อกำหนดใหม่ ได้ ยกเลิก การเป็นพื้นที่ฝนชุก คือ
และ มีจังหวัดที่กำหนดเป็นพื้นที่ฝนชุก ขึ้นมาใหม่ 5 จังหวัด ได้แก่
คู่มือการปฏิบัติงานควบคุมคุณภาพการก่อสร้างผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต |
|
ทางลอดผ่านใต้ทางแยกเป็นแนวคิดหนึ่งในการเพิ่มพื้นผิวจราจรบริเวณจุดตัดทางแยกสัญญาณไฟจราจร ช่วยให้การบริหารจัดการจราจรด้วยสัญญาณไฟจราจรมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีหน้าที่เทียบเคียงกับสะพานลอยข้ามทางแยก แต่ทางลอดมีจุดเด่นด้านลดการบดบังทัศนียภาพ กรมทางหลวงได้ดําเนินการโครงการแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตเมืองด้วยการออกแบบก่อสร้างทางลอดในหลายพื้นที่ด้วยกัน ซึ่งมีรูปแบบและขั้นตอนการก่อสร้างแตกต่างกันไป
คู่มือวิธีการปฏิบัติงานก่อสร้างทางลอด โดยสำนักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวง |
ปัญหาอุปสรรคในการทํางาน ถ่ายทอดต่อบุคลากรทั้งของกรมทางหลวง หน่วยงานราชการและภาคเอกชน เป็นส่วนหนึ่งเพื่อช่วยพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านนี้ให้เจริญก้าวหน้าและทันสมัย กรมทางหลวงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือวิธีการปฏิบัติงานก่อสร้างทางลอดนี้ จะช่วยในการพัฒนาองค์ความรู้ เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และผู้มีส่วนในการผลักดันการพัฒนาทางด้านเทคนิควิธีการในการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศชาติต่อไป
|
ไฟล์ PDF 168 หน้า ขนาดไฟล์ 23 Mb
ดูและ Download
|
Categories
All
สพฐ.
มอก.
อปท.
พรบ.ควบคุมอาคาร
ประปา
พัสดุ
หางาน
ทางลอด
คู่มือ
สถาปนิก
เสาเข็ม
แบบแปลน
ระเบียบ กฎหมาย
ระเบียบ-กฎหมาย
สม้ครงาน
สถาปัตย์
ราคากลาง
ชลประทาน
กฎกระทรวง
ระบบไฟฟ้า
สภาวิศวกร
ประมาณราคา
คำวินิจฉัย
กรมทางหลวง
ราคามาตรฐาน
งานก่อสร้าง
คอมพิวเตอร์
วัสดุก่อสร้าง
มาตรฐานงานทาง
กรมทางหลวงชนบท
ความรู้งานช่าง
ศาลปกครองสูงสุด
โปรแกรมวิศวกรรม
ภาคีสถาปนิกพิเศษ
สถาปัตยกรรมควบคุม
ควบคุมงานก่อสร้าง
ราคาวัสดุก่อสร้าง
ข่าวประชาสัมพันธ์
คอนกรีตเสริมเหล็ก
ข้อบังคับสภาสถาปนิก
อัตราราคางานต่อหน่วย
กรมโยธาธิการและผังเมือง
บัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ์
หนังสือราคาวัสดุก่อสร้าง
ราคาวัสดุก่อสร้างและแรงงาน
บัญชีราคามาตรฐานสิ่งก่อสร้าง
กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียม
ข.1
ข.7
Download
E Book
ค่า K
Sketchup